การเขียนบทความเชิงวิชาการ

การเขียนบทความเชิงวิชาการ

  1. ส่วนที่ 4เนื้อเรื่อง (Body)
  2. วัตถุประสงค์ของการเขียนบทความวิชาการ
    2.1. วัตถุประสงค์ของการเขียนบทความวิชาการมีอยู่หลายประเด็นด้วยกัน ส่วนใหญ่แล้วจะต้องการให้ ผู้อ่านได้รับ ความรู้ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น แนวทางปฏิบัติวิธีการแก้ปัญหาข้อคิด แรงบันดาลใจ ข้อแนะนา ข้อเสนอแนะ ในการเขียนบทความวิชาการแต่ละครั้งผู้เขียนควรจะก าหนดวัตถุประสงค์ของการเขียนให้ชัดเจน ว่าต้องการให้ผู้อ่านได้รับประโยชน์จากบทความในด้านใด เพราะในการเขียนบทความทางวิชาการถึงแม้จะ เป็นเรื่องเดียวกันแต่อาจมีวิธีการนาเสนอแตกต่างๆกัน หากผู้เขียนมีวัตถุประสงค์ในการเขียนต่างกัน ในการ ก าหนดวัตถุประสงค์ของการเขียนบทความวิชาการนั้น ผู้เขียนจะต้องตอบคาถามตามหลัก 5 W 1 H ก่อนที่จะ ทาการเขียนบทความวิชาการเพื่อเป็นแนวในการก าหนดทิศทางของการเขียนและรูปแบบวิธีการนาเสนอ เนื้อหาในบทความวิชาการดังกล่าว
    2.1.1. โดย 5 W 1H ประกอบด้วย
    2.1.1.1. Who “จะเขียนให้ใครอ่าน”
    2.1.1.2. When “เวลาที่จะนาบทความลงเผยแพร่คือเมื่อใด”
    2.1.1.3. Why “จะนา เสนอเรื่องนี้ทาไม”
    2.1.1.4. How “จะนาเสนอเรื่องนี้อย่างไร”
  3. ความหมายของบทความวิชาการ
    3.1. บทความวิชาการ (academic article) เป็นข้อเขียนเชิงสาระที่ผู้เขียนตั้งใจหยิบยกประเด็นใด ประเด็นหนึ่ง หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในแวดวงวิชาการ วิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หรือวิพากษ์ ทัศนะหรือแนวคิดเดิม และหรือนาเสนอหรือเผยแพร่แนวคิดใหม่ เพื่อมุ่งให้ผู้อ่าน เปลี่ยนหรือปรับเปลี่ยน แนวคิด ความเชื่อมาสู่แนวคิดของผู้เขียน บทความวิชาการเน้นการให้ความรู้เป็นสำคัญและต้องอาศัยข้อมูล ทางวิชาการ เอกสารอ้างอิง และเหตุผลที่พิสูจน์ได้เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้อ่าน
  4. ส่วนประกอบของการเขียนบทความวิชาการ
    4.1. ส่วนที่ 1 ประกอบด้วย
    4.1.1. ชื่อบทความ ใช้ภาษาที่เป็นทางการ ชื่อเรื่องชัดเจนตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นของเรื่อง ชื่อเจ้าของบทความ ต้องใช้ชื่อจริง ไม่ใช้นามแฝง และไม่ต้องใส่คำนำหน้านาม
    4.2. ส่วนที่ 2 ประกอบด้วย
    4.2.1. บทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อในบทความวิชาการ เป็นการสรุปประเด็นเนื้อหาที่เป็นแก่นสํ าคัญ เน้นประเด็นสําคัญของงาน ที่ต้องการนําเสนอจริงๆ ควรเขียนให้สั้น กระชับ มีความยาวไม่เกิน 10 ถึง 15 บรรทัด โดยบทคัดย่อมักจะประกอบด้วยเนื้อหา สามส่วน คือ เกริ่นนำ สิ่งที่ทํำสรุปผลสําคัญที่ได้ ซึ่งอ่านแล้วต้องเห็นภาพรวมทั้งหมดของงาน คําสําคัญ (Keyword) เป็นศัพท์เฉพาะทางที่เห็นแล้วเข้าใจได้ทันทีว่างานชิ้นนี้เกี่ยวกับอะไร จํานวนไม่เกิน 5 -8 คำ
    4.3. ส่วนที่ 3บทนำ (Introduction)
    4.3.1. ส่วนนำจะเป็นส่วนที่ผู้เขียนจูงใจให้ผู้อ่านเกิดความสนใจในเรื่องนั้นๆ ซึ่งสามารถใช้วิธีการ และเทคนิคต่างๆ ตามแต่ผู้เขียนจะเห็นสมควร เช่น อาจใช้ภาษาที่กระตุ้น จูงใจ ผู้เขียนอาจหรือยกปัญหาที่ก าลังเป็นที่สนใจ ขณะนั้นขึ้นมาอภิปราย หรืออาจจะกล่าวถึงประโยชน์ที่ผู้อ่านจะได้รับจากการอ่าน นอกจากจะเป็นส่วนที่ใช้จูงใจผู้อ่านแล้ว ส่วนนำเป็นส่วนที่ผู้เขียนสามารถกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการเขียนบทความนั้น หรือให้คำชี้แจงที่มาของการเขียนบทความนั้น ๆ รวมทั้งขอบเขตของบทความนั้น เพื่อช่วยให้ผู้อ่านไม่คาดหวังเกินขอบเขตที่กำหนด
    4.4. ส่วนที่ 5 ส่วนสรุป (Conclusions)
    4.5. (ส่วนที่ 6 ประกอบด้วย
    4.5.1. บทความทางวิชาการที่ดีควรมีการสรุปประเด็นส าคัญๆ ของบทความนั้นๆ ซึ่งอาจทำ ในลักษณะที่เป็นการย่อ คือ การเลือกเก็บประเด็นสำคัญๆ ของบทความนั้นๆ มาเขียนรวมกันไว้อย่างสั้นๆ ท้ายบท หรือ อาจใช้ วิธีการบอกผลลัพธ์ว่าสิ่งที่กล่าวมามีความส าคัญอย่างไร สามารถนำไปใช้อะไรได้บ้าง หรือจะทำให้เกิดอะไรต่อไป หรืออาจใช้ วิธีการตั้งคำถามหรือให้ประเด็นทิ้งท้ายกระตุ้นให้ผู้อ่านไปสืบเสาะแสวงหาความรู้ หรือคิดค้นพัฒนาเรื่องนั้นต่อไป งานเขียน ที่ดีควรมีการสรุปในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเสมอ
    4.5.2. การเขียนส่วนเนื้อเรื่องจะต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ประกอบกัน กล่าวคือ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับศาสตร์ (sciences) นั้นคือหลักวิชาการที่ผู้เขียนจะต้องค านึงถึงในการเขียน ได้แก่ กรอบแนวความคิด (conceptual framework) ที่ผู้เขียนใช้ในการเขียนจะต้องแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของเหตุที่น าไปสู่ผล (causal relationship) การอ้างอิง ข้อมูลต่างๆ ในส่วนศิลป์ (art) ได้แก่ ศิลป์ในการใช้ภาษาเพื่อนำเสนอเรื่องที่เขียน การล าดับความ การบรรยาย วิธีการอ้างอิง สถิติ 2 และข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการประกอบเรื่องที่เขียน เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจและประทับใจมากที่สุด ในส่วนเนื้อหาสาระผู้เขียน ควรคำนึงถึงประเด็นสำคัญๆ
    4.5.3. จิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) หากต้องเขียนกิตติกรรมประกาศเพื่อขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถเขียนได้ โดยให้อยู่หลังเนื้อหาของบทความและก่อนเอกสารอ้างอิง
    4.5.3.1. 1) เอกสารอ้างอิงทุกล าดับจะต้องมีการอ้างอิงหรือกล่าวถึงในบทความ
    4.5.3.2. 2) ต้องพิมพ์เรียงล าดับการอ้างอิงตามหมายเลขที่ก าหนดไว้ที่ได้อ้างอิงถึงในบทความ โดยไม่ต้องแยกภาษาและ ประเภทของเอกสารอ้างอิง
    4.5.3.3. 3) หมายเลขล าดับการอ้างอิงให้พิมพ์ชิดขอบกระดาษด้านซ้าย ถ้ารายละเอียดของเอกสารอ้างอิงมีความยาว 3 มากกว่าหนึ่งบรรทัดให้พิมพ์ต่อบรรทัดถัดไปโดยย่อหน้า (โดยเว้นระยะ 7 ช่วงตัวอักษรหรือเริ่มพิมพ์ช่วง ตัวอักษรที่ 8 การจัดพิมพ์เอกสารอ้างอิงท้ายบทความจะแตกต่างกันตามชนิดของเอกสารที่นำมาอ้างอิง ให้จัดพิมพ์ตามข้อแนะน าดังนี้ – ถ้าเป็นรูปแบบการอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นระบบ Vancouver – ถ้าเป็นรูปแบบการอ้างอิงทางสังคมศาสตร์ให้เป็นระบบ American Psychological Associationการเขียนบทความเชิงวิชาการ
  5. ส่วนที่ 4เนื้อเรื่อง (Body)
  6. วัตถุประสงค์ของการเขียนบทความวิชาการ
    2.1. วัตถุประสงค์ของการเขียนบทความวิชาการมีอยู่หลายประเด็นด้วยกัน ส่วนใหญ่แล้วจะต้องการให้ ผู้อ่านได้รับ ความรู้ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น แนวทางปฏิบัติวิธีการแก้ปัญหาข้อคิด แรงบันดาลใจ ข้อแนะนา ข้อเสนอแนะ ในการเขียนบทความวิชาการแต่ละครั้งผู้เขียนควรจะก าหนดวัตถุประสงค์ของการเขียนให้ชัดเจน ว่าต้องการให้ผู้อ่านได้รับประโยชน์จากบทความในด้านใด เพราะในการเขียนบทความทางวิชาการถึงแม้จะ เป็นเรื่องเดียวกันแต่อาจมีวิธีการนาเสนอแตกต่างๆกัน หากผู้เขียนมีวัตถุประสงค์ในการเขียนต่างกัน ในการ ก าหนดวัตถุประสงค์ของการเขียนบทความวิชาการนั้น ผู้เขียนจะต้องตอบคาถามตามหลัก 5 W 1 H ก่อนที่จะ ทาการเขียนบทความวิชาการเพื่อเป็นแนวในการก าหนดทิศทางของการเขียนและรูปแบบวิธีการนาเสนอ เนื้อหาในบทความวิชาการดังกล่าว
    2.1.1. โดย 5 W 1H ประกอบด้วย
    2.1.1.1. Who “จะเขียนให้ใครอ่าน”
    2.1.1.2. When “เวลาที่จะนาบทความลงเผยแพร่คือเมื่อใด”
    2.1.1.3. Why “จะนา เสนอเรื่องนี้ทาไม”
    2.1.1.4. How “จะนาเสนอเรื่องนี้อย่างไร”
  7. ความหมายของบทความวิชาการ
    3.1. บทความวิชาการ (academic article) เป็นข้อเขียนเชิงสาระที่ผู้เขียนตั้งใจหยิบยกประเด็นใด ประเด็นหนึ่ง หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในแวดวงวิชาการ วิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หรือวิพากษ์ ทัศนะหรือแนวคิดเดิม และหรือนาเสนอหรือเผยแพร่แนวคิดใหม่ เพื่อมุ่งให้ผู้อ่าน เปลี่ยนหรือปรับเปลี่ยน แนวคิด ความเชื่อมาสู่แนวคิดของผู้เขียน บทความวิชาการเน้นการให้ความรู้เป็นสำคัญและต้องอาศัยข้อมูล ทางวิชาการ เอกสารอ้างอิง และเหตุผลที่พิสูจน์ได้เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้อ่าน
  8. ส่วนประกอบของการเขียนบทความวิชาการ
    4.1. ส่วนที่ 1 ประกอบด้วย
    4.1.1. ชื่อบทความ ใช้ภาษาที่เป็นทางการ ชื่อเรื่องชัดเจนตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นของเรื่อง ชื่อเจ้าของบทความ ต้องใช้ชื่อจริง ไม่ใช้นามแฝง และไม่ต้องใส่คำนำหน้านาม
    4.2. ส่วนที่ 2 ประกอบด้วย
    4.2.1. บทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อในบทความวิชาการ เป็นการสรุปประเด็นเนื้อหาที่เป็นแก่นสํ าคัญ เน้นประเด็นสําคัญของงาน ที่ต้องการนําเสนอจริงๆ ควรเขียนให้สั้น กระชับ มีความยาวไม่เกิน 10 ถึง 15 บรรทัด โดยบทคัดย่อมักจะประกอบด้วยเนื้อหา สามส่วน คือ เกริ่นนำ สิ่งที่ทํำสรุปผลสําคัญที่ได้ ซึ่งอ่านแล้วต้องเห็นภาพรวมทั้งหมดของงาน คําสําคัญ (Keyword) เป็นศัพท์เฉพาะทางที่เห็นแล้วเข้าใจได้ทันทีว่างานชิ้นนี้เกี่ยวกับอะไร จํานวนไม่เกิน 5 -8 คำ
    4.3. ส่วนที่ 3บทนำ (Introduction)
    4.3.1. ส่วนนำจะเป็นส่วนที่ผู้เขียนจูงใจให้ผู้อ่านเกิดความสนใจในเรื่องนั้นๆ ซึ่งสามารถใช้วิธีการ และเทคนิคต่างๆ ตามแต่ผู้เขียนจะเห็นสมควร เช่น อาจใช้ภาษาที่กระตุ้น จูงใจ ผู้เขียนอาจหรือยกปัญหาที่ก าลังเป็นที่สนใจ ขณะนั้นขึ้นมาอภิปราย หรืออาจจะกล่าวถึงประโยชน์ที่ผู้อ่านจะได้รับจากการอ่าน นอกจากจะเป็นส่วนที่ใช้จูงใจผู้อ่านแล้ว ส่วนนำเป็นส่วนที่ผู้เขียนสามารถกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการเขียนบทความนั้น หรือให้คำชี้แจงที่มาของการเขียนบทความนั้น ๆ รวมทั้งขอบเขตของบทความนั้น เพื่อช่วยให้ผู้อ่านไม่คาดหวังเกินขอบเขตที่กำหนด
    4.4. ส่วนที่ 5 ส่วนสรุป (Conclusions)
    4.5. (ส่วนที่ 6 ประกอบด้วย
    4.5.1. บทความทางวิชาการที่ดีควรมีการสรุปประเด็นส าคัญๆ ของบทความนั้นๆ ซึ่งอาจทำ ในลักษณะที่เป็นการย่อ คือ การเลือกเก็บประเด็นสำคัญๆ ของบทความนั้นๆ มาเขียนรวมกันไว้อย่างสั้นๆ ท้ายบท หรือ อาจใช้ วิธีการบอกผลลัพธ์ว่าสิ่งที่กล่าวมามีความส าคัญอย่างไร สามารถนำไปใช้อะไรได้บ้าง หรือจะทำให้เกิดอะไรต่อไป หรืออาจใช้ วิธีการตั้งคำถามหรือให้ประเด็นทิ้งท้ายกระตุ้นให้ผู้อ่านไปสืบเสาะแสวงหาความรู้ หรือคิดค้นพัฒนาเรื่องนั้นต่อไป งานเขียน ที่ดีควรมีการสรุปในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเสมอ
    4.5.2. การเขียนส่วนเนื้อเรื่องจะต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ประกอบกัน กล่าวคือ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับศาสตร์ (sciences) นั้นคือหลักวิชาการที่ผู้เขียนจะต้องค านึงถึงในการเขียน ได้แก่ กรอบแนวความคิด (conceptual framework) ที่ผู้เขียนใช้ในการเขียนจะต้องแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของเหตุที่น าไปสู่ผล (causal relationship) การอ้างอิง ข้อมูลต่างๆ ในส่วนศิลป์ (art) ได้แก่ ศิลป์ในการใช้ภาษาเพื่อนำเสนอเรื่องที่เขียน การล าดับความ การบรรยาย วิธีการอ้างอิง สถิติ 2 และข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการประกอบเรื่องที่เขียน เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจและประทับใจมากที่สุด ในส่วนเนื้อหาสาระผู้เขียน ควรคำนึงถึงประเด็นสำคัญๆ
    4.5.3. จิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) หากต้องเขียนกิตติกรรมประกาศเพื่อขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถเขียนได้ โดยให้อยู่หลังเนื้อหาของบทความและก่อนเอกสารอ้างอิง
    4.5.3.1. 1) เอกสารอ้างอิงทุกล าดับจะต้องมีการอ้างอิงหรือกล่าวถึงในบทความ
    4.5.3.2. 2) ต้องพิมพ์เรียงล าดับการอ้างอิงตามหมายเลขที่ก าหนดไว้ที่ได้อ้างอิงถึงในบทความ โดยไม่ต้องแยกภาษาและ ประเภทของเอกสารอ้างอิง
    4.5.3.3. 3) หมายเลขล าดับการอ้างอิงให้พิมพ์ชิดขอบกระดาษด้านซ้าย ถ้ารายละเอียดของเอกสารอ้างอิงมีความยาว 3 มากกว่าหนึ่งบรรทัดให้พิมพ์ต่อบรรทัดถัดไปโดยย่อหน้า (โดยเว้นระยะ 7 ช่วงตัวอักษรหรือเริ่มพิมพ์ช่วง ตัวอักษรที่ 8 การจัดพิมพ์เอกสารอ้างอิงท้ายบทความจะแตกต่างกันตามชนิดของเอกสารที่นำมาอ้างอิง ให้จัดพิมพ์ตามข้อแนะน าดังนี้ – ถ้าเป็นรูปแบบการอ้างอิงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นระบบ Vancouver – ถ้าเป็นรูปแบบการอ้างอิงทางสังคมศาสตร์ให้เป็นระบบ American Psychological Association

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน . เนื่องจากการสำรวจพฤติกรรมการรับสื่อและทัศนคติต่อการรับชมโฆษณา-แคมเปญการตลาดของผู้บริโภคชาวไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ทางบริษัท นีลเส็น มีเดีย ประเทศไทย หนึ่งในบริษัทวิจัยสื่อ-การตลาดรายใหญ่ สามารถประมวลเป็นเทรนด์สำคัญที่จะส่งผลกับการสื่อสารและทำการตลาดของภาคธุรกิจในปี 2566 นี้ . พบว่า ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน และ 61% เลือกซื้อสินค้าที่เป็นสปอนเซอร์การแข่งขัน รวมถึง

มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้

มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้

Thesis Thailand ขอแนะนำ “ มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้ ” . เนื่องจากการทำวิจัยหาความรู้ หรือการทำวิจัยพัฒนาสิ่งใด  มันมีกระบวนการขั้นตอนที่เกิดจากต้องวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อประมวลเป็นความรู้ และนำไปใช้เป็นหลักฐานเหตุผล ให้ได้ข้อสรุป “ด้วยตนเอง” เมื่อชำนาญแล้ว ค่อยขยับไปทำงานวิจัยที่ต้องการ “ค้นพบ” ความรู้ใหม่ หรือแนวทางใหม่ๆ . มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้ คือ “ทำสิ่งใดด้วยกระบวนการวิจัย” ได้แก่

พฤติกรรมของผู้บริโภคที่อาจจะเปลี่ยนไปในยุคหลังโควิด

พฤติกรรมของผู้บริโภคที่อาจจะเปลี่ยนไปในยุคหลังโควิด

Thesis Thailand สำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคที่อาจจะเปลี่ยนไปในยุคหลังโควิด . เนื่องจากพฤติกรรมของผู้บริโภคมีความเปลี่ยนแปลงสำคัญในยุคหลังโควิด-19 โดยส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและพฤติกรรมการบริโภคทั่วไป อาทิเช่น ผู้บริโภคที่ได้ลองซื้อของผ่านทางช่องทางออนไลน์ได้เกิดความเคยชินไปแล้ว หรือการให้ความสำคัญกับค่านิยม (Value) เพื่อให้ได้ใจลูกค้ากลุ่ม GenZ และ Millennials รวมถึงการใช้ Data เพื่อหา Insight ของผู้บริโภค และปรับกลยุทธ์การตลาดให้เหมาะสมตามอยู่เสมอ เป็นต้น นี่คือบางพฤติกรรมที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงในยุคหลังโควิด: . . .

เจาะลึกพฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ควรทำอย่างไรให้ได้ใจลูกค้า

เจาะลึกพฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ควรทำอย่างไรให้ได้ใจลูกค้า

Thesis Thailand เจาะลึกพฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ควรทำอย่างไรให้ได้ใจลูกค้า . เนื่องจากการซื้อขายสินค้าอาจจะมีองค์ประกอบคร่าว ๆ เพียงแค่ แบรนด์ สินค้า และผู้บริโภค แต่ในโลกของธุรกิจจริง ๆ กลับมีความซับซ้อนและข้อมูลมากมาย รวมไปถึงคู่แข่งในแต่ละตลาด ดังนั้นผู้ที่เข้าใจตลาดก่อน ย่อมเดินนำไปก่อนหนึ่งก้าวเสมอ ทำให้ในบทความนี้เราจะมาส่องเทรนด์พฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ซึ่งเป็นคำภีร์พื้นฐานที่สำคัญสำหรับแบรนด์ ในการพาสินค้าและบริการของตนเอง กระโดดเข้าไปอยู่ในใจของผู้บริโภค . มีการคาดการณ์ว่าพฤติกรรมผู้บริโภค