วิทยานิพนธ์ (Thesis) กับ สารนิพนธ์ (IS) ต่างกันยังไง?

บทความนี้ เราจะช่วยไขข้อข้องใจที่ถึง 3 ความแตกต่างที่จะทำให้คุณเข้าใจได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้นว่าวิทยานิพนธ์ (Thesis)กับสารนิพนธ์ (IS) ต่างกันยังไง?

วิทยานิพนธ์ (Thesis)

งานวิทยานิพนธ์ คือ การศึกษาค้นคว้างานวิจัย หรือการเขียนงานวิชาการที่ผู้เรียนในระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอกต้องจัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการจบการศึกษา รับปริญญา เพื่อเป็นเกียรติคุณและ เป็นไปเบิกทางในสายอาชีพต่างๆ ที่ตนเองสนใจในอนาคต

สารนิพนธ์ (Independent Study)

สารนิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ (IS) คือ การศึกษาวิจัยอิสระโดยการค้นคว้าทำความเข้าใจกับความรู้นั้น ๆ แบบไม่จำกัดรูปแบบของการศึกษา กลั่นกรองความรู้เนื้อหาสาระที่มีผู้ศึกษาวิจัยไว้แล้ว นำมาสรุปใหม่ให้อยู่ในหัวข้อเรื่องเดียวกัน แต่มีเนื้อหาต่างกัน และ ศึกษาได้ง่ายกว่า

ฉะนั้น สารนิพนธ์กับวิทยานิพนธ์นั้นมีความแตกต่างกันในเรื่องของ…

แนวคิด (Concept) และ ตัวแปร (Variable) ที่ใช้ในการวิเคราะห์

ในการทำงานสารนิพนธ์จะศึกษาแนวคิด (Concept) หรือตัวแปร (Variable) ที่มักจะมีตัวแปรต้น 2 ตัวแปร หรือตัวแปรตาม 1 ตัวแปร ให้เหมาะกับการใช้สถิติ หรือการวิเคราะห์อย่างง่าย

และงานวิทยานิพนธ์นั้นจะศึกษาแนวคิดความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (Causal Relationship) และมีจำนวนตัวแปรที่มากกว่าสารนิพนธ์ ซึ่งมักจะมี 4-5 ตัวแปรขึ้นไป และจะมีการใช้สถิติที่ซับซ้อนในการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น T-test independent และหรือ F-test

และในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) นั้น จะมีความเข้มข้นของความถูกต้อง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) ที่แตกต่างกัน

ความเข้มข้นในการตั้งโจทย์คำถามการวิจัย เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่แม่นยำ

คำถามที่ตั้งควรเป็นคำถามที่เฉพาะเจาะจง เพราะการทำงานนิพนธ์คือการหาคำตอบเพื่อใช้ในการคำถามการวิจัยในประเด็นหัวข้อปัญหาที่ได้ตั้งไว้ให้ครบถ้วน หากตั้งคำถามในการวิจัยไม่ชัดเจนหรือมากเกินไป คำตอบที่ได้รับอาจจะไม่ชัดเจนหรือหลาดเคลื่อนได้เช่นกัน

อีกทั้งคำถามที่ตั้งนั้นจะต้องมีความสอดคล้องและเหมาะสมกับเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลการวิจัย ซึ่งเครื่องมือที่นิยมใช้ส่วนใหญ่จะมี 2 ประเภท คือ การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามในการวัดผล คือมาตรประมาณค่า (Rating Scale) และการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ส่วนใหญ่จะใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ (Interview Form) เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูล

ประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาที่แตกต่างกัน

หากคุณต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก คุณควรจะเลือกทำงานวิทยานิพนธ์ เพราะกระบวนการศึกษางานวิทยานิพนธ์มีขั้นตอนที่ซับซ้อน ต้องค้นคว้าข้อมูลเพื่อใช้ในการสนับสนุนเนื้อหางานที่แน่นหนา ทำให้ผู้ศึกษามีความรู้เพิ่มพูนมากขึ้นเป็นที่ยอมรับทางวิชาการ จึงทำให้มีโอกาสเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกได้ง่ายกว่า

ดังนั้น สารนิพนธ์กับวิทยานิพนธ์ แตกต่างกันอย่างเป็นได้ชัดคือ หลักการของการทำงานสารนิพนธ์สารนิพนธ์จะมีเฉพาะในบางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อในหลักสูตรต่างๆ และจะต้องทำการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการเช่นเดียวการทำงานวิทยานิพนธ์ ซึ่งอาจจะมีกระบวนการในการศึกษาวิจัยที่ไม่ซับซ้อนหรือเข้มข้นเท่ากับการทำงานวิทยานิพนธ์

และทั้งหมดนี่คือข้อแตกต่างระหว่างวิทยานิพนธ์ (Thesis)กับสารนิพนธ์ (IS) อะไรที่คิดว่าเหมาะกับตัวคุณก็เลือกเรียนแบบนั้นได้เลยค่ะ 🙂

Credit: https://bit.ly/3B3IOAY

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน . เนื่องจากการสำรวจพฤติกรรมการรับสื่อและทัศนคติต่อการรับชมโฆษณา-แคมเปญการตลาดของผู้บริโภคชาวไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ทางบริษัท นีลเส็น มีเดีย ประเทศไทย หนึ่งในบริษัทวิจัยสื่อ-การตลาดรายใหญ่ สามารถประมวลเป็นเทรนด์สำคัญที่จะส่งผลกับการสื่อสารและทำการตลาดของภาคธุรกิจในปี 2566 นี้ . พบว่า ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน และ 61% เลือกซื้อสินค้าที่เป็นสปอนเซอร์การแข่งขัน รวมถึง

มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้

มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้

Thesis Thailand ขอแนะนำ “ มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้ ” . เนื่องจากการทำวิจัยหาความรู้ หรือการทำวิจัยพัฒนาสิ่งใด  มันมีกระบวนการขั้นตอนที่เกิดจากต้องวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อประมวลเป็นความรู้ และนำไปใช้เป็นหลักฐานเหตุผล ให้ได้ข้อสรุป “ด้วยตนเอง” เมื่อชำนาญแล้ว ค่อยขยับไปทำงานวิจัยที่ต้องการ “ค้นพบ” ความรู้ใหม่ หรือแนวทางใหม่ๆ . มือใหม่ทำงานวิจัยต้องควรรู้ คือ “ทำสิ่งใดด้วยกระบวนการวิจัย” ได้แก่

พฤติกรรมของผู้บริโภคที่อาจจะเปลี่ยนไปในยุคหลังโควิด

พฤติกรรมของผู้บริโภคที่อาจจะเปลี่ยนไปในยุคหลังโควิด

Thesis Thailand สำรวจพฤติกรรมของผู้บริโภคที่อาจจะเปลี่ยนไปในยุคหลังโควิด . เนื่องจากพฤติกรรมของผู้บริโภคมีความเปลี่ยนแปลงสำคัญในยุคหลังโควิด-19 โดยส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและพฤติกรรมการบริโภคทั่วไป อาทิเช่น ผู้บริโภคที่ได้ลองซื้อของผ่านทางช่องทางออนไลน์ได้เกิดความเคยชินไปแล้ว หรือการให้ความสำคัญกับค่านิยม (Value) เพื่อให้ได้ใจลูกค้ากลุ่ม GenZ และ Millennials รวมถึงการใช้ Data เพื่อหา Insight ของผู้บริโภค และปรับกลยุทธ์การตลาดให้เหมาะสมตามอยู่เสมอ เป็นต้น นี่คือบางพฤติกรรมที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงในยุคหลังโควิด: . . .

เจาะลึกพฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ควรทำอย่างไรให้ได้ใจลูกค้า

เจาะลึกพฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ควรทำอย่างไรให้ได้ใจลูกค้า

Thesis Thailand เจาะลึกพฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ควรทำอย่างไรให้ได้ใจลูกค้า . เนื่องจากการซื้อขายสินค้าอาจจะมีองค์ประกอบคร่าว ๆ เพียงแค่ แบรนด์ สินค้า และผู้บริโภค แต่ในโลกของธุรกิจจริง ๆ กลับมีความซับซ้อนและข้อมูลมากมาย รวมไปถึงคู่แข่งในแต่ละตลาด ดังนั้นผู้ที่เข้าใจตลาดก่อน ย่อมเดินนำไปก่อนหนึ่งก้าวเสมอ ทำให้ในบทความนี้เราจะมาส่องเทรนด์พฤติกรรมผู้บริโภค 2023 ซึ่งเป็นคำภีร์พื้นฐานที่สำคัญสำหรับแบรนด์ ในการพาสินค้าและบริการของตนเอง กระโดดเข้าไปอยู่ในใจของผู้บริโภค . มีการคาดการณ์ว่าพฤติกรรมผู้บริโภค