<strong>ปริญญาโท</strong><strong>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</strong>
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดสอนระดับปริญญาโทดังนี้ คณะครุศาสตร์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) Master of Education (M.Ed.) มี 21 สาขาวิชาได้แก่ 1. การศึกษาปฐมวัย(Early Childhood Education) 2. ประถมศึกษา (Elementary Education) 3. พลศึกษา (Physical Education) 4. สุขศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education) 5. การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (นานาชาติ) (Teaching English as a Foreign Language) 6. การศึกษาคณิตศาสตร์ (Mathematics […]
<strong>7 ขั้นตอนการทำวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้อง</strong><strong></strong>
ขั้นตอนการทำวิทยานิพนธ์มีความสำคัญยิ่งเพราะช่วยให้งานเสร็จเร็ว ได้ข้อสรุปส่งให้ผู้รับทำได้ไวและตรงประเด็น จากประสบการณ์รับทำวิทยานิพนธ์และรับติวให้นักศึกษามา การทำวิทยานิพนธ์มี 7 ขั้นตอนการทำวิทยานิพนธ์ที่ถูกต้องดังนี้ 1. กำหนดชื่อเรื่อง : เป็นชื่อที่คุณสนใจ ถนัด และอยู่ในสาขาที่เรียน หากยังไม่ทราบ ให้ดูหัวข้อจาก วิทยานิพนธ์ที่รุ่นพี่ทำไว้แล้วให้ดูในบทที่ 5 ในส่วนของข้อเสนอแนะสำหรับ การทำวิทยานิพนธ์ครั้งต่อไป จะทำให้ทราบชื่อเรื่องที่น่าสนใจ และกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยตามชื่อเรื่องนั่นเอง ส่วนประโยขน์ที่คาดว่าจะได้รับจะเป็นการเขียนว่า เมื่อวิจัยเรื่องนี้แล้ว วิทยานิพนธ์ให้ประโยชน์อะไร กับใคร และเอาไปใช้ได้อย่างไร 2. ศึกษาวิทยานิพนธ์เก่า ๆ ที่มีคนทำไว้แล้ว : ขั้นตอนนี้เรียกว่า Literature Review หรือเรียกว่า ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยต้องศึกษาทฤษฎีซึ่งดูจากหัวข้อหรือชื่อเรื่องที่เราศึกษา ดูว่ามีทฤษฎีอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง และศึกษางานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ที่มีคนทำไว้แล้ว ในหัวเรื่องที่เหมือนกันหรือคล้ายใกล้เคียงกัน 3. กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์ : ในการทำวิทยานิพนธ์ถือว่าเป็นปัญหาหลักสำหรับนักวิจัยมือใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์มากนัก การกำหนดกรอบแนวคิดมีหลายรูปแบบ ทั้งการกำหนดแบบตัวแปรต้นและตัวแปรตาม และการกำหนดกรอบแนวคิดตามเนื้อหาของการวิจััยกรอบแนวคิดถือเป็นหัวใจหลักของการวิจัยเลยทีเดียว จึงต้องปรึกษาผู้รู้หรืออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อกำหนดกรอแนวคิดที่ถูกต้อง จะเป็นแนวทางในการทำวิจัยแบบไม่หลงประเด็น 4. กำหนดขอบเขตของการศึกษาวิทยานิพนธ์ : ในที่นี้ขอบเขต ประกอบด้วย – […]
<strong>5 เทคนิค ในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง</strong><strong></strong>
นักวิจัยหลายท่านมีปัญหาในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยเพื่อที่จะค้นหางานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวิจัยของตนเอง ในบทความนี้เราจะแชร์ 5 เทคนิค ในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องว่าต้องทำแบบไหน อย่างไร เพื่อที่จะสำเร็จได้ง่ายมาฝากค่ะ 1. ต้องสืบค้นข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากตัวแปรที่ทำการศึกษาวิจัย การสืบค้นจากตัวแปรที่ทำการศึกษาวิจัยจะทำให้ท่านทราบว่าตัวแปรดังกล่าวนี้มีอยู่ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้องชิ้นใดบ้าง เพียงนำข้อมูลตัวแปรที่กำหนดไว้ในกรอบแนวคิดของการวิจัยของท่านมาสืบค้นทีละตัวแปรเพื่อที่จะให้ได้งานวิจัยแต่ละชิ้นงานที่สอดคล้องกันจนครบทุกตัวแปร 2. การสืบค้นข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คำต้องกระชับและชัดเจน ท่านต้องคิดถึงประเด็นหลักหรือ Keyword ของตัวแปรดังกล่าว เช่น “ความต้องการต่อการพัฒนา” สามารถสรุปได้สั้นๆ ก็คือ “ความต้องการพัฒนา” ฉะนั้นท่านต้องแยกเป็น 2 ตัวแปร หรือ 2 คำที่มีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน เพื่อที่จะนำไปใช้ในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยต่างๆ อย่างตัวอย่างที่ยกไปข้างต้นคือ “ความต้องการต่อการพัฒนา” – Keyword หลัก คือ “ความต้องการ” – Keyword รอง คือ “การพัฒนา” ท่านต้องแยกเป็น Keyword หลัก และ Keyword รอง เพื่อที่จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลงานวิจัย เพื่อค้นหางานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่มีความสอดคล้องกับตัวแปรที่ท่านต้องการศึกษาได้ 3. หาคำพ้องที่มีความหมายคล้ายคลึงกันเพื่อสืบค้นข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น การกำหนดการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยเกี่ยวกับความต้องการในการพัฒนา ก็จะมี Keyword […]
<strong>6 เทคนิคสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนไม่ให้ท้อ</strong><strong></strong>
เคยไหม? ตั้งใจที่จะเข้ามาเรียนให้จบ แต่พอเรียนไปได้สักระยะหนึ่ง ก็เริ่มมีปัญหาหลายๆอย่างรุมเร้าจนแอบคิดในใจและคุยกับตัวเองว่า “จะเรียนไหวไหมนะ” “ไปต่อหรือถอย” “จะเสียเวลาไหม” “เอาจริงๆก็อยากเรียนให้จบนะ” และสุดท้ายก็รู้สึก เศร้า ซึม เหนื่อย ท้อ งานไม่เดิน เริ่มหลุดจากระบบการเรียนที่วางแผนไว้ จนไม่รู้จะทำยังไงดี ฉะนั่น บทความนี้ได้รวบรวมวิธีแก้ง่ายๆที่คุณสามารถทำได้ทุกวันที่จะช่วยประคองให้คุณมีแรงบันดาลใจ เพื่อดึงสติตัวเองให้ไปต่อได้ดียิ่งขึ้นกับ 6 เทคนิคสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนไม่ให้ท้อ มีอะไรบ้างไปไล่ดูกันเลย เทคนิคสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนไม่ให้ท้อ : 1. รับสารดีๆ เข้ามาในชีวิต เหล่าผู้มีแรงจูงใจสูง จะคิดถึงหลักการ “ขยะเข้า – ขยะออก” เป็นพิเศษ แทนที่จะรับข่าวสารลบๆ ละครน้ำเน่าในทีวี หรือ เรื่องราวอันสลดหดหู่ในเฟสบุ๊ค เขาจะเลือกเปิดรับข้อมูลความคิดในแง่บวก หรือแรงบันดาลใจดีๆ มันไม่ได้เป็นการปิดกั้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ แต่เป็นการเลือกที่จะมอง ไม่ใช้เวลาและพลังงานไปกับข่าวสารลบๆ แค่นั้นเอง เทคนิคสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนไม่ให้ท้อ : 2. การเขียนเป้าหมาย แน่นอน! การเขียนเป้าหมาย คือหนทางที่ดีที่สุด ในการพัฒนาวิธีการคิด ทั้งเป้าหมายระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาวเหล่าผู้มีแรงจูงใจสูง จะเขียนมันลงไป […]